พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า: “ โย ภิกขเว มํ อุปฏฐเหยย โส คิลานํ อุปฏฐเหยย ” ” ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงอุปัฏฐากภิกษุอาพาธเถิด ” พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า “การดูแล และอุปัฏฐากพระภิกษุไข้ (เจ็บไข้ได้ป่วย) อานิสงส์เท่ากับได้อุปัฏฐากเราตถาคต”

มูลนิธิโรงพยาบาลสงฆ์คือ สถานบันตั้งขึ้นเพื่อจัดการผลประโยชน์ด้านทรัพย์สินต่างๆ เพื่อสงเคราะห์โรงพยาบาลสงฆ์ มูลนิธินี้จะก่อตั้งขึ้นในโรงพยาบาลสงฆ์เมื่อ 27 มกราคม พ.ศ. 2508 การดำเนินงานแตกต่างกัน แต่มีการประสานงานเพื่อให้ถึงจุดมุ่งหมายในทางเดียวกัน คือโรงพยาบาลสงฆ์มีหน้าที่ด้านบำบัดโรคพระสงฆ์ สามเณรอาพาธ

อันสามารถที่จะกระทำได้อย่างกว้างขวางดีกว่า และคล่องตัวกว่าโรงพยาบาลสงฆ์ซึ่งมีสภาพเป็นหน่วยราชการจะทำได้ มูลนิธิโรงพยาบาลสงฆ์มีหน้าที่ช่วยเป็นกำลังเสริม คือ ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับด้านการเงินและทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค *มูลนิธิสงฆ์อยู่ในรั้วเดียวกันกับโรงพระยาบาล แต่คนละตึก

http://มูลนิธิโรงพยาบาลสงฆ์.com/index.php

อาศรมแพทย์ใหญ่บรมครูหมอชีวกโกมารภัจจ์ โรงพยาบาลสงฆ์
อาศรมแพทย์ใหญ่บรมครูหมอชีวกโกมารภัจจ์ โรงพยาบาลสงฆ์

“หมอชีวกโกมารภัจจ์” บรมครูแห่งการแพทย์แผนโบราณ เป็นบุคคลที่ถูกกล่าวไว้ในพระไตรปิฎก เอตทัคคะในด้านการเป็นที่รักของปวงชน และยังได้ถวายตัวเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอพรสุขภาพดี” ร่างกายสดใส จิตใจแข็งแรง

พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า: “โย ภิกขเว มี อุปฏฐเหยุย โส คิลานํ อุปฏฐเหยย”

“ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราดถาคด ผู้นั้นพึ่งรักษาภิกษุป่วยใช้” ข้อมูล โรงพยาบาลสงฆ์ หาได้มากจาก google ทำบุญแล้วนำไปใช้ทันทีก็ดีเหมือนกัน

แต่ยังมี มูลนิธิโรงพยาบาลสงฆ์ ที่อยู่ในรั้วเดียวกัน ที่อาจจะยังมีข้อมูลน้อยแต่มีมานานมากแล้ว โดยเปิดปัญขี ครั้งแรก1000 ขั้นไป ทางมูลนิธิจะใช้แค่ดอกเบี้ยจากธนาคารเพื่อไปทำบุญ และครั้งต่อไป แค่แจ้งเพิ่มทุนไม่ต้องถึง 1000 ก็ได้ ถึงไม่ได้ทำเพิ่ม ให้ดอกเบี้ยทำบุญวนไปเลยค่ะ

ธนาคารทหารไทย เลขที่บัญช็ 003-2-84465-6 (สาขา พญาไท)

ชื่อปัญช็ มูลนิธิโรงพยาบาลสงฆ์

แจ้งวัตถุประสงค์การบริจาค

– บริจาคเพิ่มทุน ระบุชื่อทุนหรือเลขที่ทุน

– บริจาคทั่วไป ระบุวัตถุประสงค์

ส่งหลักฐานการบริจาค

โทรสาร (แฟกซ์) 02-644-9779

อ็เมลล์ munisong1@gmail.com

*ความเชื่อส่วนบุคล ผึ้งเริ่มทำหลังผ่าครั้งแรก ครั้งต่อๆมาเบากว่าครั้งแรกมากกกค่ะ

นอกเหนือไปจากเพื่อให้ได้ถวายความสงเคราะห์แก่พระสงฆ์สามเณรอาพาธตามเจตนาของผู้บริจาคแล้ว ยังเป็นการป้องกันไม่ให้มีผู้เบียดเบียนทรัพย์สินประเภทนี้ของโรงพยาบาลสงฆ์ เท่ากับเป็นการแยกเอาทรัพย์สินซึ่งเสมือน “ของสงฆ์” มาบริหารและจัดการให้เป็นไปโดยชอบที่สุด ให้สมกับเป็น “ของสงฆ์” ตรงตามเจตนาของผู้ที่ศรัทธาบริจาคอุทิศอย่างแท้จริง

อนุโมทนา กราบบบบ


0 Comments

ใส่ความเห็น

Avatar placeholder

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *